Download PDF: Best Practice กศน. ในเขตภาคเหนือ 2564 (10.4 MB)
ชื่อหนังสือ: Best Practice กศน. ในเขตภาคเหนือ
ประเภท: เอกสารวิชาการ
เขียน/เรียบเรียง: คณะทำงาน จากหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. 17 จังหวัดภาคเหนือ
กลุ่มเป้าหมาย: ครูและบุคลากร กศน. บุคคลทั่วไป
ขนาดรูปเล่ม: A4
จำนวนหน้า: 190 หน้า (รวมปก)
ปีที่พิมพ์/เผยแพร่: 2564
สาระสำคัญ/เนื้อหาโดยย่อ
หน่วยงานและสถานศึกษาสังกัด กศน. ในเขตพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ได้มีการพัฒนางานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้สามารถบริการการศึกษาแก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีคุณภาพ และในฐานะที่สถาบัน กศน.ภาคเหนือ มีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาคุณภาพวิชาการ หลักสูตร สื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา พัฒนาบุคลากร ตลอดจนระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง จึงได้รวบรวมผลงานวิชาการ นวัตกรรมทางการศึกษาที่เป็นผลจากการลงมือปฏิบัติจริงของหน่วยงาน สถานศึกษา กศน.ในเขตภาคเหนือ จัดพิมพ์เป็นเอกสาร Best Practice ของสถานศึกษา กศน.ในเขตภาคเหนือ ประจำปี 2564 เผยแพร่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานการจัดการศึกษาได้ต่อไป
ขอบข่ายเนื้อหา
แนวปฏิบัติที่ดีในด้านต่าง ๆ ได้แก่
การศึกษาบนพื้นที่สูงและโครงการพระราชดำริ
การสืบศาสตร์พระราชาสานศิลปาชีพ
นวัตกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นวัตกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย
สาระสำคัญ/เนื้อหาโดยย่อ
หน่วยงานและสถานศึกษาสังกัด กศน. ในเขตพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ ได้มีการพัฒนางานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในหลากหลายรูปแบบ เพื่อให้สามารถบริการการศึกษาแก่ประชาชนในพื้นที่ได้อย่างมีคุณภาพ และในฐานะที่สถาบัน กศน.ภาคเหนือ มีบทบาทในการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนาคุณภาพวิชาการ หลักสูตร สื่อเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา พัฒนาบุคลากร ตลอดจนระบบข้อมูลสารสนเทศที่เกี่ยวข้อง จึงได้รวบรวมผลงานวิชาการ นวัตกรรมทางการศึกษาที่เป็นผลจากการลงมือปฏิบัติจริงของหน่วยงาน สถานศึกษา กศน.ในเขตภาคเหนือ จัดพิมพ์เป็นเอกสาร Best Practice ของสถานศึกษา กศน.ในเขตภาคเหนือ ประจำปี 2564 เผยแพร่ เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนางานการจัดการศึกษาได้ต่อไป
ขอบข่ายเนื้อหา
แนวปฏิบัติที่ดีในด้านต่าง ๆ ได้แก่
การศึกษาบนพื้นที่สูงและโครงการพระราชดำริ
การสืบศาสตร์พระราชาสานศิลปาชีพ
นวัตกรรมการศึกษาขั้นพื้นฐาน
นวัตกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย