Download : (PDF 2.53 MB)
รายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนางานประจำด้วยกระบวนการวิจัย
ชื่อหนังสือ : รายงานการศึกษาแนวทางการพัฒนางานประจำด้วยกระบวนการวิจัย (Routine to Research : R2R) สู่ กศน.ตำบล 4 G : Good Teacher ด้านการวิจัย กรณีศึกษา กศน.อำเภอแจ้ห่ม จ.ลำปาง
ประเภท : เอกสารวิชาการ / รายงานการวิจัย
กลุ่มเป้าหมาย : ครูและบุคลากรทางการศึกษา
ขนาดรูปเล่ม : A4
จำนวนหน้า : 81 หน้า (รวมปก)
ปีที่พิมพ์ : 2561
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่องที่ศึกษา การศึกษาแนวทางการพัฒนางานประจาด้วยกระบวนการวิจัย (Routine to
Research : R2R) สู่ กศน.ตาบล 4 G : Good Teacher ด้านการวิจัย กรณีศึกษา กศน.อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง
ผู้รายงาน นางรสาพร หม้อศรีใจ ครูชำนาญการพิเศษ
สังกัด สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ
ที่ปรึกษา นายจำเริญ มูลฟอง
ปีที่ศึกษา 2561
วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนางานประจาด้วยกระบวนการวิจัย (Routine to Research : R2R) สู่ กศน.ตาบล 4 G : Good Teacher ด้านการวิจัย
บทคัดย่อ
ชื่อเรื่องที่ศึกษา การศึกษาแนวทางการพัฒนางานประจาด้วยกระบวนการวิจัย (Routine to
Research : R2R) สู่ กศน.ตาบล 4 G : Good Teacher ด้านการวิจัย กรณีศึกษา กศน.อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลาปาง
ผู้รายงาน นางรสาพร หม้อศรีใจ ครูชำนาญการพิเศษ
สังกัด สถาบันพัฒนาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยภาคเหนือ
ที่ปรึกษา นายจำเริญ มูลฟอง
ปีที่ศึกษา 2561
วัตถุประสงค์ การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนางานประจาด้วยกระบวนการวิจัย (Routine to Research : R2R) สู่ กศน.ตาบล 4 G : Good Teacher ด้านการวิจัย
วิธีดาเนินการศึกษา มีพื้นที่ดำเนินการศึกษา คือศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปางเป็นการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยพิจารณาจากความต้องการ ความสมัครใจ และความพร้อมของสถานศึกษา โดยที่ผู้บริหารได้กาหนดจุดเน้นในการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไปที่การพัฒนางานประจา เนื่องจากบุคลากรของสถานศึกษามีการปรับเปลี่ยน เข้า ออกเป็นประจำ โดยดำเนินการพัฒนางานประจำด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย การประชุม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ประเด็นคำถามที่กาหนดไว้ ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน เพื่อวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
ผลการศึกษา
สถานศึกษาได้พัฒนางานประจาด้วยกระบวนการวิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือก จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ 1) การทำน้าผัก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) การทำน้าปู๋ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย และการทำถั่วเน่า ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยใช้คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การ
พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช
2551 ใช้คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก เป็นเครื่องมือในการพัฒนางาน ที่เน้น
การลงมือปฏิบัติจริง พัฒนางานตามวงจรคุณภาพของเดมมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) และเป็นไป
ตามหลักการวิจัยแบบ R2R ซึ่งเป็นงานวิจัยแบบง่าย ๆ ที่ไม่ยึดระเบียบวิธีวิจัยแต่อยู่ที่การพัฒนางาน
ผู้เขียน
อาเภอแจ้ห่ม จังหวัดลำปางเป็นการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยพิจารณาจากความต้องการ ความสมัครใจ และความพร้อมของสถานศึกษา โดยที่ผู้บริหารได้กาหนดจุดเน้นในการพัฒนาการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยไปที่การพัฒนางานประจา เนื่องจากบุคลากรของสถานศึกษามีการปรับเปลี่ยน เข้า ออกเป็นประจำ โดยดำเนินการพัฒนางานประจำด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลโดย การประชุม และการสังเกตแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ประเด็นคำถามที่กาหนดไว้ ตรวจสอบข้อมูลแบบสามเส้าให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วน เพื่อวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)
ผลการศึกษา
สถานศึกษาได้พัฒนางานประจาด้วยกระบวนการวิจัย เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรรายวิชา
เลือก จำนวน 3 หลักสูตร ได้แก่ 1) การทำน้าผัก ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 2) การทำน้าปู๋ ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย และการทำถั่วเน่า ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโดยใช้คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การ
พัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พุทธศักราช
2551 ใช้คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเลือก เป็นเครื่องมือในการพัฒนางาน ที่เน้น
การลงมือปฏิบัติจริง พัฒนางานตามวงจรคุณภาพของเดมมมิ่ง (Deming Cycle : PDCA) และเป็นไป
ตามหลักการวิจัยแบบ R2R ซึ่งเป็นงานวิจัยแบบง่าย ๆ ที่ไม่ยึดระเบียบวิธีวิจัยแต่อยู่ที่การพัฒนางาน
ผู้เขียน
นางรสาพร หม้อศรีใจ ครูชำนาญการพิเศษ สถาบัน กศน.ภาคเหนือ